วันอังคารที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2555

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

- สารสนเทศ  หรือ Information หมายถึง  ข้อมูล ข่าวสารที่ได้รับการตีความ จำแนก จัดเป็นหมวดหมู่แล้ว นำมาใช้ในการสื่อสารที่เป็นประโยชน์
- เทคโนโลยีสารสนเทศ   หรือ IT เป็นเทคโนโลยีที่สำคัญ มีความเกี่ยวข้องกับการจัดเก็บ การประมวลผล และการแสดงผลสารสนเทศ
- องค์ประกอบหลักของเทคโนโลยีสารสนเทศ
  ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
     - เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
     - เทคโนโลยีโทรคมนาคม
1. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์  
   จัดเป็นเทคโนโลยีหลักของเทคโนโลยีสารสนเทศ เนื่่องจากมีการบันทึก การจัดเก็บ การประมวลผล การแสดงผล และการสืบค้นข้อมูล แบ่งย่อยเป็น 2 ส่วน คือ เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ และเทคโนโลยีซอฟต์แวร์
- เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณืทุกชนิดที่ประกอบขึ้นเป็นตัวเครื่อง สามารถมองเห็นและสัมผัสได้ ทำงาน 4 ส่วน คือ
  1) หน่วยรับข้อมูล
  2) หน่วยประมวลผลกลาง หรือ ซีพียู
  3) หน่วยแสดงผลข้อมูล ( Output Unit )
  4) หน่วยความจำสำรอง ( Secondary Storage Unit )
- เทคโนโลยีซอฟต์แวร์  
      โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ทำหน้าที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ผู้ใช้ต้องการ แบ่งเป็น 2ประเภท คือ
  - ซอฟต์แวร์ระบบ (System Softwear )
 ชุดคำสั่งที่ทำหน้าที่สั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามคำสั่ง
  - ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Softwear )
ชุดคำสั่งที่ออกแบบมาเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน
2. เทคโนโลยีโทรคมนาคม
    เทคโนดลยีที่ใช้ติดต่อสื่อสารกันทั่วไป เช่นระบบโทรศัพท์  ระบบดาวเทียม ระบบเครือข่ายเคเบิล
พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ยุคที่ 1  การประมวลผลข้อมูล มีวัตถุประสงค์เพื่อการคำนวณและการประมาลผล
ยุคที่  2  การบริหารจัดการ  มีการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการตัดสินใจ ควบคุบการดำเนินงาน
ยุคที่  3  การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ มีการใช้ในการช่วยตัดสินใจจำหน่ายงานไปสู่ความสำเร็จ
ยุคที่  4  ยุคปัจจุบัน มีการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และระบบการสื่อสารโทรคมนาคมเป็นเครือข่ายในการช่วยจัดทำระบบสารสนเทศ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
1. ให้ความรู้ เกิดความคิดและความเข้าใจ
2.  ใช้ในการวางแผนการบริหารงาน
3.  ใช้ประกอบการตัดสินใจ
4.  ใช้ในการควบคุมสถานการณ์ หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
5.  เพื่อให้งานบริหารมีระบบ

วันจันทร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2555

ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ


รูปแบบเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน
 จำแนกตามการใช้ เป็น 6 แบบ ดังนี้
1) เทคโนโลยีที่ใช้เก็บข้อมูล เช่น ดาวเทียมถ่ายภาพทางอากาศ , กล้องดิจิทอล
2) เทคโนโลยีที่ใช้บันทึกข้อมูล เป็นสื่อบันทึกข้อมูลต่างๆ เช่น เทปแม่เหล็ก , จานแม่เหล็ก , บัตรเอทีเอ็ม
3) เทคโนโลยีที่ใช้ประมวลผลข้อมูล ได้แก้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอรื ทั้งฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์
4) เทคโนโลยีที่ใช้แสดงผลข้อมูล เช่น เครื่องพิมพ์ , จอภาพ
5) เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดทำสำเนาเอกสาร เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร
6) เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล ได้แก่ ระบบโทรคมนาคม เช่น โทรทัศน์ , วิทยุกระจายเสียง

การใช้อินเทอร์เน็ต
 งานวิจัยพฤติกรรมของนักศึกษา พบว่า นักศึกษาใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อความบันเทิงเนื่องจากเห็นว่ามีความสะดวกสบาย
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอน
 -การเรียนรู้แบบออนไลน์ ( e- Learning )
 - บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ( Computer Assisted Intruction -CAI )
 -วีดีทัศน์ตามอัธยาศัย ( Video on Demand )
 - หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E-books)
การเรียนรู้แบบออนไลน์ (e -Leaning )
 เป็นการศึกษาเรียนรู้ผ่านระบบคอมพิวเตอร์ เป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ โดยเนื้อหาประกอบไปด้วย ข้อความ รูปภาพ เสียง วีดีโอ โดยผู้เรียนและผู้สอนสามารถแลกเปลี่ยนความคิดได้อาศัยเครื่องมือการติดต่อสื่อสาร
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
( Computer Assisted Instruction / CAI )
 คือ บทเรียนคอมพิวเตอร์ซึ่งนำเสนอสารสนเทศที่ได้ผ่านกระบวนการสร้างและพิจารณาอย่างดี ซึ่งจะนำเสนอในรูปมัลติมีเดีย ประกอบด้วย อักษร รูปภาพ เสียง โดยอาศัยพฤติกรรมการเรียนรู้( Learning  Behavior) ทฤษฎีการเสริมแรง ( Reinforceme Theory ) โดยมีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนมีการเรียนที่มีประสิทธิภาพ 
 - วีดิทัศน์ตามอัธยาศัย
  คือ ระบบเรียกดูภาพยนต์ตามสั่งที่จะอำนวยความสะดวก สามารถเลือกดูภาพยนต์ ข้อมูลภาพเคลื่อนไหวพร้อมเสียงได้ตามต้องการดดยสามารถใช้งานนี้ได้จากเครื่องช่วยสื่อสาร ผู้ใช้งานซึ่งอยู่หน้าลูกข่าย สามารถเรียกดูข้อมูลที่เป็นภาพเคลื่อนไหวได้ทุกความต้องการ โดยสามารถย้อนกลับ ( rewind ) หรือกรอไปข้างหน้า ( Forword )
 - หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E-book )
  หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถอ่านได้ทางอินเทอร์เน็ต โดยมีเครื่องมือที่จำเป็น คือ ฮาร์ดแวร์ ประเภทเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพาพร้อมทั้งติดตั้งซอฟต์แวร์ที่ใช้อ่านข้อความ ลักษณะไฟล์ของ    e-book สามารถเลือกได้ 4รูปแบบ คือ HTML , PDF , PML , XML
 - ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ ( E- library )
 เป็นแหล่งความรู้ที่บันทึกข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศ
  มีคุณสมบัติ คือ
1) การจัดการทรัพยากรสารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์
2) ความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศโดยอิเล็กทรอนิกส์
3) ความสามารถในการจัดเก็บ รวบรวมและนำสารสนเทศสู่ผู้ใช้

การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ


 การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการค้นหาข้อมูลและสารสนเทศ เฉพาะเรื่องที่ผู้ใช้ระบุแหล่งรวบรวมสารสนเทศ เพื่อเป็นประโยชน์ด้านต่างๆ 
วัตถุประสงค์ในการสืบค้นข้อมูล
1. เพื่อทราบรายละเอียดของข้อมูล 
2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการศึกษาหรือทำงาน
3. เพื่อสร้างการเรียนรู้ให้กับตนเองและผู้อื่น
4. เพื่อตรวจสอบข้อมูล
5. เพื่อการนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
สืบค้นข้อมูลได้จากแหล่งใดบ้างSearch  Engine
สามารถ
  หมายถึง เครื่องมือ หรือเว็บไวต์ที่อำนวยความสะดวกในการสืบค้นให้แก่ผู้ใช้ หมายถึง โปรแกรมที่ออกแบบเพื่อเป็นเครื่องมือสำหรับใช้ค้นหาข้อมูลบนเว็บไซต์
แบ่งเป็น 3 ประเภท
1. อินเด็กเซอร์ ( Indexers )
 จะมีโปรแกรมช่วยจัดการหาข้อมูลในการค้นหาหรือที่เรียกว่า Robot วิ่งไปมาในอินเทอร์เน็ตโดยอัตโนมัติ เพื่ออ่านข้อมูลจากเว็บเพจ
ตัวอย่างของเว็บ
- http:// www.altavista.com
- http:// www.hotbot.com
- http:// www.excite.com
2. ไดเร็กเทอรี ( Directories )
 จะใช้การเก็บข้อมูลโดยแบ่งออกเป็นหมวดหมู่ สามารถเลือกดูหมวดหมู่ใหญ่ แล้วดูหมู่ย่อย โดยจะแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับตำแหน่ง URL และรายละเอียดของ URL
ตัวอย่างเว็บ
- http:// www.yahoo.com
-  http:// www.looksmart.com
-  http:// www.siamguru.com
3. เมตะเสิร์ช ( Metaseach )
 ใช้หลายวิธีการใช้หาข้อมูล โดยจะรับคำสั่งค้นหาจากเรา แล้วไปยังเว็บไซต์ที่เป็น Search Engine ทำให้เข้าถึงเว็บไซต์ได้อย่างรวดเร็ว
ตัวอย่างเว็บ
- http:// www.dogpile.com
-  http:// www.profution.com
-  http:// www.thaifind.com

เว็บไซต์ที่ได้รับคำนิยม
Yahoo
  เป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการแบบไดเร็กเทอรีเป็้นรายแรกในอินเทอร์เน็ต และมีผู้ใช้งานสูงสุด เพราะมีการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระเบียบ
Altavista
 มีฐานข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ โดยมีเว็บเพจอินเด็กซ์ เป็นจำนวนมากกว่า 150ล้านเว็บ เพจที่สามารถใช้หาข้อมูลได้
Excite 
 มัเว็บไซค์จำนวนมาก โยจะทำการค้นหาข้อมูลจาก World wide wed
Hotdoot

 เป็นเว็บไซค์มีจุดเด่นที่สามารถกำหนดเงื่อนไขขั้นสูงได้ง่ายกว่าเครื่องมืออื่นๆ
Go.com
 เป็นเว็บไซคืที่มีการนำเสนอข่าวทันเหตุการณ์ จากแหล่งข่าวต่างๆตลอดจนข่าวด้าานบันเทิงยังมีการรายงานข้อมูลเกี่ยวกับตลาดหุ้น
Lycos
 มีขนาดใหญ่มากมีคลังข้อมูลมากกว่า 1,500,000ไซต์ โดยมีระบบการค้นหาข้อมูลที่รวดเร็ว
Look smart
 เกิดจากชาวออสเตรเลีย 2 คนไม่พอใจต่อการค้นหาข้อมูลในอินเตอร์เนตจึงไปขอความช่วยเหลือจาก Read'Digest ทั้งสองจึงสร้างเว็บไซต์ที่คำนึงถึงความสะดวกของผู้อื่นใช้
WebCrawler
เป็นเว้บไซต์ที่มีคลังข้อมูลอยู่ในระดับปานกลาง จะข้อจำกัดก็คือ ใช้ค้นหาข้อมูลที่เป็นวลีหรือข้อความไม่ได้ ได้เฉพาะเป็นคำๆ
Dog pile
 เป็นเว็บไซต์ประเภทเมตะเสิร์ชที่ใช้งานง่าย
Ask jeeves
 สามารถถามคำถามที่อยากรู้ไปในช่องกรอกข้อความ โดยคลิกปุ่ม Ask แล้ว Ask leeves จะไปทำการค้นหาคำตอบ (Answer)
Profusion
 เป็นแบบเมตะเสิร์ช โดยเราสามารถเลือกได้ว่าใช้ search engine ใดในการค้นหา
Siamguru.com
 ภายใต้สมญานามว่า "เสิร์ชไทยพันธุืแท้" โดยให้บริการค้นหาข้อความแบบธรรมดาและพิเศษ ค้นหาภาพ  ค้นหาเพลง นักร้องต่างๆ โดยใช้เทคนิคที่มีประสิทธิภาพที่สุดสำหรับการค้นการค้นหาภาษาไทย มีการเก็บข้อมุลใหม่ๆตลอดเวลา

คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์

         คอมพิวเตอร์ หมายถึง  เครอื่งมือหรืออุปกรณืประเภทอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือโปรแกรมต่างๆ สามารถเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายได้หลายแบบ ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์คือมีศักยภาพสูงในการคำนวณประมวลผลข้อมูลทั้งที่เป็นตัวเลข รูปภาพ ตัวอักษร และเสียง
  ส่วนประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์

 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
            หมายถึง ส่วนีท่ประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 5 ส่วน คือ

ส่วนที่1 หน่วยรับข้อมูลเข้า (Input Unil)
         เป็นวัสดุอุปกรณืที่นำมาเชื่อมต่อ ทำหน้าที่ปอ้นสัญญาณเข้าสู่ระบบ เพื่อกำหนดให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการ  ได้แก่
-แป้นอักขระ (Keyboard)
-แผ่นซีดี (CD-rom)
-ไมโครโฟน (Microphone) เป็นต้น

ส่วนที่2 หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unil)
        ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวณทั้งทางตรรกและคณิตศาสตร์ รวมถึงการประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับ

สว่นที่3 หน่วยความจำ(Memory Unit)
        ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่ส่งมาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลยังหน่วยประมวลผลกลางและเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลส่งไปยังประมวลผลกลาง

ส่วนที่4 หน่วยแสดง (Output Unit)
      ทำหน้าที่แสดลข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล หรือผ่านการคำนวณแล้ว

ส่วนที่5 อุปกรณ์ต่อพ่วง (Peripheral EQuipment)
      เป็นอุปกรณ์ที่นำมาต่อพ่วงเข้ากับคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้น เช่น โมเด็ม (modem) แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย เป็นต้น

       ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

1. มีความเร็วในการทำงานสูง สามารถประมวลผลคำสั่ง ได้รวดเร็วเพียงชั่งวินาที จึงใช้ทไงนคำนวณต่างๆได้อย่างรวดเร็ม
2. มีประสิทธิในการทำงานสุง ทำงานได้ตลอด 24 ชั่วดมง ใช้แทนกำลังคนได้มาก
3.มีความถูกต้องแม่นยำ ตามโปรมแกรมสั่งงานและข้อมูลที่ใช้
4. เก็บข้อมูลได้มาก ไม่เปลืองเนื้อที่เก็บเอกสาร
5. สามารถโอนย้ายข้อมูลจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งผ่านระบบเครือข่ายได้อย่างรวดเร็วช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้งาน

                  ระบบคอมพิวเตอร์

    หมายถึง กรรมวิธีที่คอวพิวเตอรืทำการใดๆกับข้อมูลให้อยูในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ตามความประสงค์ของผู้ใช้งานใมกที่สุด เช่น ระบบเสียภาษี  ระบบทะเบียนราษฎร์  ระบบทะเบียนการค้า ระบบเวช  ระเบียนของโรงพยาบาล ป็นต้น
     การเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้สามรถเข้าถึงได้โดยการตรวจสอบจากกสรประมวลของระบบคอมพิวเตอร์จากหน่วยงสนที่เกี่ยวข้อง
  

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

   ระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำงานอย่างมีประสิทธิภาพจะประกอบด้วยส่วนสำคัญ 4 ส่วน  ดังนี้
1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หรือส่วนเครื่อง
2. ซอฟแวร์ (Software)
ฮาร์แวร์
    หมายถึง ตัวเครื่องและอุปกรณ์ส่วนต่างๆที่เราสามารถสัมผัสและจับต้องได้ ฮาร์ดแวร์ประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ 4 ส่วน ดังนี้คือ
1.ส่วนประมามวลผล (Processor)
2.อุปกรณ์รับเข้าและส่งออก (Input-Output Devices)
4.อุปกรณืหน่วยเก็บข้อมูล(Storage Device)


ส่วนที่1 CPU

CPU เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เปรียบเสมือนสมอง
มีหน้าที่หลักในการควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ ประมวลผลและเปรียบเทียบข้อมูลโดยทำการเปลี่ยนแปลงข้อมูลดิบ และแปลงให้เป็นสารสนเทศที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ความสามารถของ ซีพียูนั้น พิจารณาจากความเร็วของการทำงาน การรับส่งข้อมูล อ่านและเขียนข้อมูลในหน่วยความจำ ความเร็วของซีพียูขึ้นอยู่กับตัวให้จังหวะที่เรียกว่า สัญญาณนาฬิกา เป็นความเร็วของจำนวนรอบสัญญาณในหนึ่งวินาทีมีหน่วยเป็น เฮิรตซ์(Hertz) เช่น สัญญาณความเร็ว1ล้านรอบใน1วินาที เทียบเท่าความเร็วสัญญาณนาฬิกา 1 จิกะเฮิรตซ์(1GHz)

ส่วนที่2 หน่วยความจำ (Memory)

  จำแนกออกเป็น 2 ประเภทดังนี้
1. หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
2. หน่วยความจำสำรอง (Secondary Storage)

1. หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
เป็นหน่วยเก็บข้อมูลและคำสั่งต่างๆของเครื่องคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย
     ชุดความจำข้อมูลที่สามารถบอกตำแหน่งที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่ง ข้อมูลจะถูกนำไปเก็บไว้และสามารถนำออกมาใช้ในการประมวลผลภายหลัง โดยซีพียูทำหน้าที่ในการนำข้อมูลเข้า และนำออกจากหน่วยความจำ
     การทำงานของคอมพิวเตอร์ ต้องใช้พื้นที่ของหน่วยความจำในการทำงานประมวลผลและเก็บข้อมูล ขนาดของความจุของหน่วยความจำ คำนวณได้จากค่าจำนวนพื้นที่ที่สามารถใช้ในการเก็บข้อมูล จำนวนพื้นที่คือ จำนวนข้อมูล และขนาดของโปรแกรมที่สามารถเก็บข้อมูลได้สูงสุด พื้นที่หน่วยความจำมีมากจะทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วมากยิ่งขึ้น

หน่วยประมวลผลกลาง(CPU)

  หน่วยประมวลผลกลาง หรือซีพียู มีความหมายทางด้านฮาร์ดแวร์ 2 อย่างคือ
1.ชิป (chip) ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์
2. ตัวกล่องเครื่องที่มีซีพียูบรรจุอยู่

1. หน่วยความจำหลัก
แบ่งได้ 2 ประเภท คือ หน่วยความจำแบบ "แรม"(RAM) และหน่วยความจำแบบ "รอม" (ROM)
1.1 หน่วยความจำแบบแรม (RAM=Ramdom Access Memery)
  เป็นหน่วยความจำที่ต้องอาศัยกระแสไฟฟ้าเพื่อรักษาข้อมูล ข้อมูลหรือแฟ้มข้อมูลจะถูกเก็บไว้ชั่วคราวขณะทำงาน ข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำจะอยู่ได้นานจนกว่าจะปิดเครือง หรือไม่มีกระแสไฟฟ้าป้อนให้กับเครื่อง เราเรียกหน่วยความจำประเภทนี้ว่า หน่วยความจำแบบลบเลือนได้(Vol)
1.2หน่วยความจำแบบ ROM=Read Only Memory
  เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่ถาวรไม่ขึ้นกับกระแสไฟฟ้าที่ป้อนให้กับวงจร ยอมให้ซีพียูอ่านข้อมูลหรือโปรแกรมไปใช้งานอย่างเดียวไม่สามารถเขียนข้อมูลลงไปเก็บไว้ได้โดยง่ายส่วนใหญ่ใช้เก็บโปรแกรมควบคุมเราเรียกหน่วยความจำนี่ว่า หน่วยความจำแบบไม่ลบเลือน (Nonvolatile Memory)

2.หน่วยความจำสำรอง (Secondary Memory Unit)
  หน่วยความจำสำรองหรือหน่วยเก็บข้อมูลรองเป็นหน่วยเก็บที่สามารถรักษาข้อมูลได้ตลอดหลังจากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว
  หน่วยความจำรองมีหน้าที่หลักคือ
1. ใช้ในการเก็บข้อมูลหรือสำรองข้อมูลเพื่อใช้ในอนาคต
2. ใช้ในการเก็บข้อมูล โปรแกรมไว้อย่างถาวร
3. ใช้เป็นสื่อในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง

ประโยชน์ของหน่วยความจำสำรอง

  หน่วยความจำสำรองจะช่วยแก้ปัญหาการสูญหายของข้อมูลอันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับ เพราะข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้าประมวลผล เมื่อเรียบร้อยแล้ว ผลลัพธ์ที่ได้จะถูกนำไปเก็บในความจำหลักประเภทแรม หากปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้าอาจทำให้ข้อมูลสูญหายจึงจำเป็นต้องมีหน่วยความจำรองเพื่อนำข้อมูลจากหน่วยความจำแรมมาเก็บไว้ใช้งานในครั้งต่อไป หน่วยความจำประเภทนี้ส่วนใหญ่จะพบในรูปของสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลภายนอก เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นบันทึก ชิปดิสก์ ซีดีรอม ดีวีดี เทปแม่เหล็ก หน่วยความจำแบบแฟลช หน่วยความจำรองนี้ถึงจะไม่มีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์แต่เครื่องคอมพิวเตอร์ก็ยังสามารถทำงานได้ปกติ

ส่วนแสดงผลข้อมูล

  ส่วนแสดงผลข้อมูล คือ ส่วนที่แสดงข้อมูลจากสํญญาณไฟฟ้าในหน่วยประมวลผลกลางให้เป็นรูปแบบที่คนเราสามารถเข้าใจได้ อุปกรณ์ที่แสดงผลข้อมูลได้แก่ จอภาพ (Monitor,Screen) เครื่องพิมพ์(Printer) เครื่องพิมพ์ภาพ(Ploter) และลำโพง(Speaker) เป็นต้น

บุคคลากรทางคอมพิวเตอร์ (Peopleware)

  บุคคลากรทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง คนที่มีความรู้ความสามารถในการใช้หรือความคุมให้การใช้คอมพิวเตอร์เป็นไปอย่าราบรื่นอาจจะประกอบด้วยคนเพียงคนเดียวหรือหลายคนช่วยกันรับผิดชอบโครงสร้างของหน่วยงานคอมพิวเตอร์

ประเภทของบุคคลากรคอมพิวเตอร์ (Peopleware)

1. ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
2. ฝ่ายเกี่ยวกับโปรแกรม
3. ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่องและบริการ

บุคคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์

1. หัวหน้าหน่วยงานคอมพิวเตอร์ (EDP Manager)
2. หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์แวงแผนระบบงาน (System Analyst หรือ SA)
3. โปรแกรมเมอร์ (Progeammer)
4. ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer Operator)
5. พนักงานจัดเตรียมข้อมูล (Data Entey Operator)

-นักวิเคราะห์ระบบงาน
ทำการศึกษาระบบงานเดิม ออกแบบระบบงานใหม่
- โปรแกรมเมอร์
นำระบบงานใหม่ที่นักวิเคราะห์ระบบออกแบบไว้มาสร้างเป็นโปรแกรม
- วิศวการะบบ
ทำหน้าที่ออกแบบ สร้าง ซ่อมบำรุง และดูแลรักษาฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ ให้สามารถทำงานได้ตามต้องการ
-พนักงานปฏิบัติการ
ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่หรือภาระกิจประจำวันที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์

อาจแบ่งบุคคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์ได้เป็น 4 ประเภท คือ
1. ผู้จัดการระบบ(System Manager) คือผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
2. นักวิเคราะห์ระบบ(System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงานเพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู้เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน
3. โปรแกรมเมอร์(Progeammer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช่โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ได้เขียนไว้
4. ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่องและวิธีการใช้งานโปรแกรมเพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตการทำงานของระบบ Network และ Internet

โครงสร้างของเครือข่ายของคอมพิวเตอร์
๑ เครือข่านเฉพราะที่  (  Local Area Network : LAN  )
               เป็นเครือข่ายที่มักพบกันในองค์กรโดยส่วนใหญ่ลักษณะของการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นวง  LAN
จะอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงกัน  เช่น  อยู่ในอาคาร  หรือหน่อยงานเดียวกัน สามารถดูแลได้เองโดยไม่ต้องใช้ระบบสื่อสารข้อมูลแบบอื่น
       



๒  เครือข่ายเมือง  ( Matropolitan  Area Network :  MAN
        เป็นกลุ่มของเครือข่าย  LAN  ที่นำมาเชื่อมกันเป็นวงที่ใหญ่ขึ้น ภานในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียง
เช่น ในเมืองเดียวกัน  
        


 ๓ เครือข่ายบริเวณกว้าง  (  Wide Area Network  :  WAN )
     เป็นเครือข่ายใหญ่ขึ้นอีกระดับ  โดยเป็นการรวมทั้งเครือข่าย  LAN  และ  MAN   มาเชื้อมต่อกันเป็น
เครือข่ายเดียว  ดังนั้นเครือข่ายนี้จึงควบคุมพื้นที่กว้าง  โดยมีการควบคุมไปทั่วประเทศ

       


       รุปแบบโครงสร้างเครือข่าย  ( Network Topolohy )
            การจัดระบบการทำงานของเครือข่าย  มีรูปแบบโครงสร้างของเครือข่ายเป็นการจัดวางคอมพิวเตอร์   และเดินสายสัญญาณคอมพิวเตอร์   โดยแบ่งโครงสร้างเครือข่ายหลักได้  4  แบบ
คือ - เครือข่ายแบบดาว
      - เครือข่ายแบบวงแหวน
      - เครือข่ายแบบบัส
     -  เครือข่ายแบบต้นไม้


      ๑  เครือข่่ายแบบดาว
              เป็นการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด โดยสถานีทุกสถานีในเครือข่ายจะต่อเข้ากับหน่วยสลับสายกลางแบบจุดต่อจุด การติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีจะกระทำได้ด้วยการติดต่อผ่านทางวงจรของหน่วยสลับสายกลาง การทำงานของหน่วยสลับสายกลางจึงคล้ายกับศูนย์กลางของการติดต่อวงจรเชื่อมโยงระหว่างสถานีต่าง ๆ ที่ต้องการติดต่อกัน

ข้อดีคือการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่สามารถทำได้ง่ายและไม่กระทบกับเครื่องอื่นในระบบเลย แต่ข้อเสียคือมี ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสายสูงและถ้าคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางเสียระบบเครือข่ายจะหยุดชะงักทั้งหมดทันที
            


๒  ระบบเครือข่ายแบบวงแหวน
   เป็นลักษณะการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุดเช่นเดียวกับแบบดาว โดยสถานีแต่ละสถานีจะต่อกับสถานีที่อยู่ติดทั้งสองข้างของตนเอง และทุกสถานีมีเครื่องขยายสัญญาณของตัวเอง โดยจะมีการเชื่อมโยงเครื่องขยายสัญญาณของแต่ละสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวน สัญญาณข้อมูลจะส่งอยู่ในวงแหวนแบบจุดต่อจุดไปในทิศทางเดียวกันจนถึงผู้รับภายในเวลาที่กำหนด โดยเครื่องขยายสัญญาณเหล่านี้จะมีหน้าที่ในการรับข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของตัวเองหรือจากเครื่องขยายสัญญาณตัวก่อนหน้า และส่งข้อมูลต่อไปยังเครื่องขยายสัญญาณตัวถัดไปเรื่อย ๆ เป็นวง หากข้อมูลที่ส่งเป็นของสถานีใด เครื่องขยายสัญญาณของสถานีนั้นก็รับและส่งให้กับสถานีนั้น จึงต้องมีการตรวจสอบข้อมูลที่ได้รับว่าเป็นของตนหรือไม่ ถ้าใช่ก็รับไว้ ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อไป อีกทั้งสามารถตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งด้วยโดยกรณีที่เครื่องรับปลายทางไม่ได้รับสัญญาณข้อมูลในเวลาที่กำหนด จะมีการแจ้งว่าเกิดความผิดพลาดในเครือข่ายได้ ข้อดีคือ ใช้สายเคเบิลน้อย และสามารถตัดเครื่องที่เสียออกจากระบบได้ ทำให้ไม่มีผลต่อระบบเครือข่าย ข้อเสียคือหากมีเครื่องที่มีปัญหาอยู่ในระบบจะทำให้เครือข่ายไม่สามารถทำงานได้เลย และการเชื่อมต่อเครื่องเข้าสู่เครือข่ายอาจต้องหยุดระบบทั้งหมดลงก่อน
          


 ๓  ระบบเครือข่ายแบบบัส
    เป็นรูปแบบที่มีผู้นิยมใช้มากแบบหนึ่ง เพราะมีโครงสร้างไม่ยุ่งยากและไม่ต้องใช้อุปกรณ์สลับสาย เป็นการเชื่อมต่อแบบหลายจุด สถานีทุกสถานีรวมทั้งอุปกรณ์ทุกชิ้นในเครือข่ายจะเชื่อมต่อเข้ากับสายสื่อสารหลักเพียงสายเดียว เรียกว่าแบ็กโบน (backbone) การจัดส่งข้อมูลลงบนบัสจึงสามารถทำให้การส่งข้อมูลไปถึงทุกสถานีได้ผ่านสายแบ็กโบนนี้ โดยการจัดส่งวิธีนี้ต้องกำหนดวิธีการที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อมกันเพราะจะทำให้ข้อมูลชนกัน โดยวิธีการที่ใช้อาจเป็นการแบ่งช่วงเวลา หรือให้แต่ละสถานีใช้ความถี่สัญญาณที่แตกต่างกัน ข้อดีที่ใช้สายน้อย และถ้ามีเครื่องเสียก็ไม่มีผลอะไรต่อระบบโดยรวม ส่วนข้อเสียก็คือตรวจหาจุดที่เป็นปัญหาได้ยาก
     


๔  ระบบเครือข่ายต้นไม้
     มีลักษณะการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุดเช่นเดียวกับแบบดาว โดยมีสายนำสัญญาณแยกออกไปเป็นแบบกิ่ง เครือข่ายแบบนี้จะเหมาะกับการประมวลผลแบบกลุ่มจะประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับต่างๆกันอยู่หลายเครื่องแล้วต่อกันเป็นชั้น ๆ ดูราวกับแผนภาพองค์กร แต่ละกลุ่มจะมีโหนดแม่ละโหนดลูกในกลุ่มนั้นที่มีการสัมพันธ์กัน การสื่อสารข้อมูลจะผ่านตัวกลางไปยังสถานีอื่นๆได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม และรับส่งข้อมูลเดียวกัน ดังนั้นในแต่ละกลุ่มจะส่งข้อมูลได้ทีละสถานีโดยไม่ส่งพร้อมกัน
   


 
การประยุกต์ใช้งานของระบบเครือข่ายคอทพิวเตอร์
     ระบบเครือข่ายทำให้เกิดการสื่อสารและการแบ่งปันการใช้ทรัพยากรระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะหมายความรวมถึงการสื่อสารและแบ่งปันการใช้ข้อมุลระหว่างบุคคลด้วย ซึ่งทั้งหมดนี้คืองานของระบบเครือข่าย
รูปแบบการใช้งานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งได้ 3 ประเภท
1.ระบบเครือข่ายแบบศูนย์กลาง
2.ระบบเครือข่ายแบบยPeer To Peer
3.ระบบเครือข่ายแบบ Clien / Server


1.ระบบเครือข่ายแบบศูนย์กลาง
 เป็นระบบที่มีเครื่องหลักเพียงเครื่องเดียวที่ใช้ในการประมวลผลตั้งอยู่ที่ศูนย์กลางและจะมีการเชื่อมต่อไปยังเครื่องเทอร์มินอลที่อยู่รอบๆใช้การเดินสายเคเบิลเชื่อต่มอกันโดยตรง เพื่อให้เครื่องเทอร์มินอลสามารถเข้าใช้งานโดยส่งคำสั่งต่างๆมาประมวลผลหรือเครื่องกลางซึ่งมักเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรมประสิทธิภาพสูง
2.ระบบเครือข่ายแบบ Peer To Peer
แต่ละสถานีงานบนระบบเครือข่าย Peer To Peer จะมีความเท่าเทียมกันสามารถที่จะแบ่งปันทรัพยากรให้แก่กันและกันได้ เช่น การใช้เครื่องพิมพ์หรือแฟ้มข้อมูลร่วมกันในเครือข่าย เครื่องอต่ละสถานีมีขีดความสามารถในการทำงานได้ด้วยตัวเอง Stand Alone
3.ระบบเครือข่ายแบบ
ระบบ Client / Server สามารถสนับสุนให้มีเครื่องลูกข่ายได้เป็นจำนวนมาก และสามารถเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้หลายสถานี ทำงานโดยมีเครื่อง Server ให้บริการเป็นศูนย์กลางอย่างน้อยหนึ่งเครื่องและมีการบริหารจัดการทรัพยากรต่างๆจากส่วนกลาง ซึ่งคล้ายกับระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์หกลาง แต่สิ่งที่แตกต่างกันก็คือเครื่องที่ทำหน้าที่ให้บริการในระบบ Clien Sราคาไม่แพงมากซึ่งอาจใช่เพียงเครื่องไมโครคอมพิวงเตอร์สมรรถนะสูงในการควบคุมการให้บริการทรัพยากรต่างๆ
    
 
ระบบเครือข่ายแบบ clien / server  เป้นระบบที่มีความยืดหยุ่นสูง สนับสนุนการทำงานแบบ Multiprocessor สามารภเพิ่มขยายขนาดของจำนวนผู้ใช้ได้ตามต้องการ นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มจำนวนเครื่อง server สำหรับให้บริการต่างๆเพื่อช่วยกระจายภาระของระบบได้ส่วนข้อเสียของระบบนี้ก็คือมีความยุ่งยากในการติดตั้งมากกว่าระบบ peer to peer รวมทั้งต้องการบุคลากรที่มีเชี่ยวชาญอีกด้วย

ซอฟแวร์ (software)

   ซอฟแวรื คือ การลำดับขั้นตอนของคำสั่งที่จะทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอร์ว่าให้ทำอะไร เป็นชุดของโปรแกรมนำมารวมกันให้สามารถทำงานได้อย่างครบถ้วนสมบรูณ์ตามที่ต้องการ เรามองหรือสัมผัสไม่ได้แต่เราสามารสร้าง จัดเก็บ และนำมาใช้หรือเผยแพร่ได้ด้วยสื่อหลายชนิด เช่น แผ่นบันทึก แผ่นซีดิ แฟล็ซไดร์ฟ ฮาร์ดดิส เป็นต้น 

      หน้าที่ของซอฟแวร์

  ซอฟแวร์ทำหน้าเป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟแวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย ซอฟแวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถออกแบบได้หลายประเภท 

   ประเภทของซฮฟแวร์

ซอฟแวร์แบ่งออกเป็น3 ประเภทใหญ่ๆ 
-ซอฟแวรระบบ (System softwa) 
-ซอฟแวร์ประยุกต์(Application)
-ซอฟแวร์ใช้งานเฉพาะ

1.ซอฟแวร์ระบบ

เป็นโปรแกรมที่บริษัทผุ้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบ หน้าที่การทำงานหน้าของรซอฟแวรืระบบ คือ ดำเนินงานพื้นฐานต่างๆของระบบคอมพวเตอร์  เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขรแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอรืเข้าใจ  นำข้อมูลไปแสดงบนหน้าจอภาพหรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์  จัดการข้อมูลในระบบ แฟ้มข้อมูลบนหน่วยความจำสำรอง
     System softwaer หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดี DOS ,window, Unisx , linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง  เช่น ภาษาBasic Fortran Pascal, Cobbol ,C  เป็นต้น
   นอกจากนี้ฌปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบ เช้น norton's Utilities ก้นับเป้นดปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกัน
  

  หน้าที่ของซอฟแวร์ระบบ

1.  ใช้ในการจัดการหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก  เช่น รับรู้การกดแป้นต่างๆบนแผงแป้นอักขระ ส่งรหัสตัวอักษรออกทางจอภาพ หรือเครื่องพิมพื  ติดต่อกับอุปกรณ์รับเข้าและส่งออกอื่นๆ เช่น เม้าส์  ลำโพง เป็นต้น
2.   ใช้ในการจัดกานรหน่วยความจำ  เพื่อนำข้อมูลจากแผ่นบันทึกมาบรรจุในหน่วยความจำหลักหรือในทำนองเดียวกลับกันคือ นำข้อมูลจากหน่วยความจำหลักมาเก็บไว้ในแผ่นบันทึก
3.ใช้ในเป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อนให้สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น เช่น การของดูรายการในสารระบบ(Directory ) ในแผ่นบันทึก การทำสำเนาแฟ้มข้อมูล 
       ซอฟแวร์ระบบพื้นฐาน ที่เห็นกันทั่วไป แบ่งออกเดป้น ระบบปฏิบัติการและตัวแปลภาษา

ประเภทของซอฟแวร์ระบบ

แบ่งออกเป็น 2ประเภท คือ 
1. รบบปฏิบัติการ(Operating Systen : OS)
2. ตัวแปลภาษา 

1. รบบปฏิบัติการ(Operating Systen : OS) เป็นซอฟแวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะมีซอฟแวร์ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดี เช่น ดอส  วินโดว์ ยูนิกซ์ รีนุกซ์ และ แมคอินทอซ เป็นต้น
     1.1.ดอส (Disk Operating  System:DOS) เป็นซอฟแวร์จัดระบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้สำหรับเป็นตัวอักษร ดอสป็นซอฟแวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในอดีตปัจจุบันในระบบปฏิบัติการ ดอส มีการใช้งานน้อยมาก
     1.2 วินโดวส์ (windows)  เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อการดอส โดยให้ผุ้ใช้สามารถสั่งงานได้จากเม้าส์มากขึ้นแทนการใช้แผงแป้นอักขระ เพี่ยงอย่างเดียว  นอกจากนี้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ยังสามารถทำงานหลายงายพร้อมกันได้  โดยงานแต่ละงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างบนจอภาพ การใช้งานเน้นรูปแบบกราฟฟิก ผุ้ใช้งานสามารภใช้เม้าส์ เลื่อนตัวชี้เพื่อเลือกตำแหน่งที่ปรากฏบนจอภาพทำให้ใช้
งานคอมพิวเตอร์ได้ง่าย วินโดวส์ได้รับความนิยมอย่างในปัจจุบัน
   1.3 ยูนิกซ์(Unix)เป็นระบบปฏิบุติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอรื  ยูนิกซ์ป็นรับบปฏิบัติการที่เทคโนดลยีแบบเปิด(open System) ซึ่งเป้นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้องผูดกติดกับระบบใดระบบหนึ่งหรือใช้อุปกรณ์ที่มียี่ห้อเดียวกัน ยูนิกซืยังถูกออกแบบเพื่อตองสนองการใช้งานในลักษณะที่มีผู้ใช้ได้หลานคนในเวลาเดียวกันที่เยกว่า ระบบายผุ้ใช้ (Multiusers) และสามารถทำงานได้หลายๆงานในเวลาเดียวกันในลักษณะที่เรีบยกว่า ระบบหลายภาระกิจ ZMultasking)  ระบบปฏิบัติการ ยูนิกซ์ จึงนิยมใช้กับเครื่องที่เชื่อมโยงเป้นเครือข่ายเพื่อใช้งานร่วมกันหลายๆเครื่องพร้อมกัน
   1.4 ลีนุกซ์ (Linux) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาจากระบบยูนิกซ์ เป็นระบบซึ่งมีการแจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนามาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติของระบบปฏิบัติการ ลีนุกซ์เป็นที่นิยมกันมากขึ้นในปัจจุบันเนื่องจากที่โปรแกรมประยุกต์ต่างๆที่ทำงานบนระบบลีนุกซ์จำนวนมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งโปรแกรมในกลุ่มของ กูส์นิว(GNU) และสิ่งที่สำคัญที่สุดก็ คือ ระบบลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการประเภทแจกฟรี(Free ware) ผู้ใช้สามารถใช้งานโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
     ลีนุกซ์สามารถทำงานได้บน ซีพียู หลายตระกูล เช้น อินทอล (PC Intel0 ดิจิตตอล (Diggital Alpha Computer0 และซันสปาร์ค (Sunsoarc) ถึงแม้ว่าในขณะนี้ ลีนุกศืยังไม่สามารถแทนที่ระบบวินโวส์บน พีซี ได้ทั้งหมดก็ตาม แต่ผู้ใช้จำนวนมากได้หันมาใช้และช่วยพัฒนาโปรแกรมประยุกตืบนลีนุกศ์กันมากขึ้น
    1.5 แมคอินทอซ (Macintosh) เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ แมคอินทอซส่วนมากนำไปใช้งานด้านกราฟฟิก ออกแบบ และจัดแต่งเอกสารนิยมใช้ในสำนักพิมพ์ต่างๆ

 นอกจากระบบปฏิบัติการที่กล่าวมาแล้วยังมีระบบปฏิบัติการอีกมาก เช่น ระบปฏิบัติการที่ใช้ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานร่วมกันเป็นระบบ เช่น ระบบปฏิบัติการ เน็ตแวร์  นอกจากนี้ยังมีระบบปฏิบัติการที่ใช้งานเฉพาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นมาเพื่องานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร๋ในสถาบันการศึกษา

ชนิดของระบบปฏิบัติการจำแนกตามการใช้งานแบ่งออกเป้น 3 ชนิด คิอ 
1.ประเภทใช้งานเดี่ยว (Single-tasking) ระบบปกิบัติการประเภทนี้จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่ง งานเท่านั้น ใช้ในเครื่องขนาดเล็ก อย่างไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น ดอส เป็นต้น
2.ประเภทใช้หลายงาน (Multi-tasking) สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงานในขณะเดียวกัน  ผู้ใช้สามารถทำงานซอฟแวร์ประยุกต์ได้หลายชนิดในเวลาเดียวกัน เช่น วินโดวส์ 98 ขึ้นไปและยูนิกซ์ เป็นต้น
3.ประเภทใช้งานหลายคน(Multt-usre) ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่ประมวลผลทำให้ในขณะใดขณะหนึ่งมีผู้ใช้คอวพิวเตอร์พร้อมกันหลายคน แต่ละคนจะมีสถานีงานของตนเองเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์จึงต้องใช้ระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูงเพื่อให้ผู้ใช้ทุกคนมารถทำงานเสร็จในเวลา เช่น วินโดวส์ NT และยูนิกซ์ เป็นต้น
...............................................................................................................................................................

วันอังคารที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ICT สำหรับครู

คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์

         คอมพิวเตอร์ หมายถึง  เครอื่งมือหรืออุปกรณืประเภทอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยคำสั่ง ชุดคำสั่ง หรือโปรแกรมต่างๆ สามารถเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายได้หลายแบบ ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์คือมีศักยภาพสูงในการคำนวณประมวลผลข้อมูลทั้งที่เป็นตัวเลข รูปภาพ ตัวอักษร และเสียง
  ส่วนประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์

 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
            หมายถึง ส่วนีท่ประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 5 ส่วน คือ

ส่วนที่1 หน่วยรับข้อมูลเข้า (Input Unil)
         เป็นวัสดุอุปกรณืที่นำมาเชื่อมต่อ ทำหน้าที่ปอ้นสัญญาณเข้าสู่ระบบ เพื่อกำหนดให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการ  ได้แก่
-แป้นอักขระ (Keyboard)
-แผ่นซีดี (CD-rom)
-ไมโครโฟน (Microphone) เป็นต้น

ส่วนที่2 หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unil)
        ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวณทั้งทางตรรกและคณิตศาสตร์ รวมถึงการประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับ

สว่นที่3 หน่วยความจำ(Memory Unit)
        ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่ส่งมาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลยังหน่วยประมวลผลกลางและเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลส่งไปยังประมวลผลกลาง

ส่วนที่4 หน่วยแสดง (Output Unit)
      ทำหน้าที่แสดลข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล หรือผ่านการคำนวณแล้ว

ส่วนที่5 อุปกรณ์ต่อพ่วง (Peripheral EQuipment)
      เป็นอุปกรณ์ที่นำมาต่อพ่วงเข้ากับคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้น เช่น โมเด็ม (modem) แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย เป็นต้น

       ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

1. มีความเร็วในการทำงานสูง สามารถประมวลผลคำสั่ง ได้รวดเร็วเพียงชั่งวินาที จึงใช้ทไงนคำนวณต่างๆได้อย่างรวดเร็ม
2. มีประสิทธิในการทำงานสุง ทำงานได้ตลอด 24 ชั่วดมง ใช้แทนกำลังคนได้มาก
3.มีความถูกต้องแม่นยำ ตามโปรมแกรมสั่งงานและข้อมูลที่ใช้
4. เก็บข้อมูลได้มาก ไม่เปลืองเนื้อที่เก็บเอกสาร
5. สามารถโอนย้ายข้อมูลจากเครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งผ่านระบบเครือข่ายได้อย่างรวดเร็วช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้งาน

                  ระบบคอมพิวเตอร์

    หมายถึง กรรมวิธีที่คอวพิวเตอรืทำการใดๆกับข้อมูลให้อยูในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ตามความประสงค์ของผู้ใช้งานใมกที่สุด เช่น ระบบเสียภาษี  ระบบทะเบียนราษฎร์  ระบบทะเบียนการค้า ระบบเวช  ระเบียนของโรงพยาบาล ป็นต้น
     การเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้สามรถเข้าถึงได้โดยการตรวจสอบจากกสรประมวลของระบบคอมพิวเตอร์จากหน่วยงสนที่เกี่ยวข้อง
  

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

   ระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำงานอย่างมีประสิทธิภาพจะประกอบด้วยส่วนสำคัญ 4 ส่วน  ดังนี้
1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หรือส่วนเครื่อง
2. ซอฟแวร์ (Software)
ฮาร์แวร์
    หมายถึง ตัวเครื่องและอุปกรณ์ส่วนต่างๆที่เราสามารถสัมผัสและจับต้องได้ ฮาร์ดแวร์ประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ 4 ส่วน ดังนี้คือ
1.ส่วนประมามวลผล (Processor)
2.อุปกรณ์รับเข้าและส่งออก (Input-Output Devices)
4.อุปกรณืหน่วยเก็บข้อมูล(Storage Device)


ส่วนที่1 CPU

CPU เป็นอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เปรียบเสมือนสมอง
มีหน้าที่หลักในการควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ ประมวลผลและเปรียบเทียบข้อมูลโดยทำการเปลี่ยนแปลงข้อมูลดิบ และแปลงให้เป็นสารสนเทศที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ความสามารถของ ซีพียูนั้น พิจารณาจากความเร็วของการทำงาน การรับส่งข้อมูล อ่านและเขียนข้อมูลในหน่วยความจำ ความเร็วของซีพียูขึ้นอยู่กับตัวให้จังหวะที่เรียกว่า สัญญาณนาฬิกา เป็นความเร็วของจำนวนรอบสัญญาณในหนึ่งวินาทีมีหน่วยเป็น เฮิรตซ์(Hertz) เช่น สัญญาณความเร็ว1ล้านรอบใน1วินาที เทียบเท่าความเร็วสัญญาณนาฬิกา 1 จิกะเฮิรตซ์(1GHz)

ส่วนที่2 หน่วยความจำ (Memory)

  จำแนกออกเป็น 2 ประเภทดังนี้
1. หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
2. หน่วยความจำสำรอง (Secondary Storage)

1. หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
เป็นหน่วยเก็บข้อมูลและคำสั่งต่างๆของเครื่องคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย
     ชุดความจำข้อมูลที่สามารถบอกตำแหน่งที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่ง ข้อมูลจะถูกนำไปเก็บไว้และสามารถนำออกมาใช้ในการประมวลผลภายหลัง โดยซีพียูทำหน้าที่ในการนำข้อมูลเข้า และนำออกจากหน่วยความจำ
     การทำงานของคอมพิวเตอร์ ต้องใช้พื้นที่ของหน่วยความจำในการทำงานประมวลผลและเก็บข้อมูล ขนาดของความจุของหน่วยความจำ คำนวณได้จากค่าจำนวนพื้นที่ที่สามารถใช้ในการเก็บข้อมูล จำนวนพื้นที่คือ จำนวนข้อมูล และขนาดของโปรแกรมที่สามารถเก็บข้อมูลได้สูงสุด พื้นที่หน่วยความจำมีมากจะทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วมากยิ่งขึ้น

หน่วยประมวลผลกลาง(CPU)

  หน่วยประมวลผลกลาง หรือซีพียู มีความหมายทางด้านฮาร์ดแวร์ 2 อย่างคือ
1.ชิป (chip) ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์
2. ตัวกล่องเครื่องที่มีซีพียูบรรจุอยู่

1. หน่วยความจำหลัก
แบ่งได้ 2 ประเภท คือ หน่วยความจำแบบ "แรม"(RAM) และหน่วยความจำแบบ "รอม" (ROM)
1.1 หน่วยความจำแบบแรม (RAM=Ramdom Access Memery)
  เป็นหน่วยความจำที่ต้องอาศัยกระแสไฟฟ้าเพื่อรักษาข้อมูล ข้อมูลหรือแฟ้มข้อมูลจะถูกเก็บไว้ชั่วคราวขณะทำงาน ข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำจะอยู่ได้นานจนกว่าจะปิดเครือง หรือไม่มีกระแสไฟฟ้าป้อนให้กับเครื่อง เราเรียกหน่วยความจำประเภทนี้ว่า หน่วยความจำแบบลบเลือนได้(Vol)
1.2หน่วยความจำแบบ ROM=Read Only Memory
  เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่ถาวรไม่ขึ้นกับกระแสไฟฟ้าที่ป้อนให้กับวงจร ยอมให้ซีพียูอ่านข้อมูลหรือโปรแกรมไปใช้งานอย่างเดียวไม่สามารถเขียนข้อมูลลงไปเก็บไว้ได้โดยง่ายส่วนใหญ่ใช้เก็บโปรแกรมควบคุมเราเรียกหน่วยความจำนี่ว่า หน่วยความจำแบบไม่ลบเลือน (Nonvolatile Memory)

2.หน่วยความจำสำรอง (Secondary Memory Unit)
  หน่วยความจำสำรองหรือหน่วยเก็บข้อมูลรองเป็นหน่วยเก็บที่สามารถรักษาข้อมูลได้ตลอดหลังจากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว
  หน่วยความจำรองมีหน้าที่หลักคือ
1. ใช้ในการเก็บข้อมูลหรือสำรองข้อมูลเพื่อใช้ในอนาคต
2. ใช้ในการเก็บข้อมูล โปรแกรมไว้อย่างถาวร
3. ใช้เป็นสื่อในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง

ประโยชน์ของหน่วยความจำสำรอง

  หน่วยความจำสำรองจะช่วยแก้ปัญหาการสูญหายของข้อมูลอันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับ เพราะข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้าประมวลผล เมื่อเรียบร้อยแล้ว ผลลัพธ์ที่ได้จะถูกนำไปเก็บในความจำหลักประเภทแรม หากปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้าอาจทำให้ข้อมูลสูญหายจึงจำเป็นต้องมีหน่วยความจำรองเพื่อนำข้อมูลจากหน่วยความจำแรมมาเก็บไว้ใช้งานในครั้งต่อไป หน่วยความจำประเภทนี้ส่วนใหญ่จะพบในรูปของสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลภายนอก เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นบันทึก ชิปดิสก์ ซีดีรอม ดีวีดี เทปแม่เหล็ก หน่วยความจำแบบแฟลช หน่วยความจำรองนี้ถึงจะไม่มีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์แต่เครื่องคอมพิวเตอร์ก็ยังสามารถทำงานได้ปกติ

ส่วนแสดงผลข้อมูล

  ส่วนแสดงผลข้อมูล คือ ส่วนที่แสดงข้อมูลจากสํญญาณไฟฟ้าในหน่วยประมวลผลกลางให้เป็นรูปแบบที่คนเราสามารถเข้าใจได้ อุปกรณ์ที่แสดงผลข้อมูลได้แก่ จอภาพ (Monitor,Screen) เครื่องพิมพ์(Printer) เครื่องพิมพ์ภาพ(Ploter) และลำโพง(Speaker) เป็นต้น

บุคคลากรทางคอมพิวเตอร์ (Peopleware)

  บุคคลากรทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง คนที่มีความรู้ความสามารถในการใช้หรือความคุมให้การใช้คอมพิวเตอร์เป็นไปอย่าราบรื่นอาจจะประกอบด้วยคนเพียงคนเดียวหรือหลายคนช่วยกันรับผิดชอบโครงสร้างของหน่วยงานคอมพิวเตอร์

ประเภทของบุคคลากรคอมพิวเตอร์ (Peopleware)

1. ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
2. ฝ่ายเกี่ยวกับโปรแกรม
3. ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่องและบริการ

บุคคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์

1. หัวหน้าหน่วยงานคอมพิวเตอร์ (EDP Manager)
2. หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์แวงแผนระบบงาน (System Analyst หรือ SA)
3. โปรแกรมเมอร์ (Progeammer)
4. ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ (Computer Operator)
5. พนักงานจัดเตรียมข้อมูล (Data Entey Operator)

-นักวิเคราะห์ระบบงาน
ทำการศึกษาระบบงานเดิม ออกแบบระบบงานใหม่
- โปรแกรมเมอร์
นำระบบงานใหม่ที่นักวิเคราะห์ระบบออกแบบไว้มาสร้างเป็นโปรแกรม
- วิศวการะบบ
ทำหน้าที่ออกแบบ สร้าง ซ่อมบำรุง และดูแลรักษาฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ ให้สามารถทำงานได้ตามต้องการ
-พนักงานปฏิบัติการ
ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่หรือภาระกิจประจำวันที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์

อาจแบ่งบุคคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์ได้เป็น 4 ประเภท คือ
1. ผู้จัดการระบบ(System Manager) คือผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
2. นักวิเคราะห์ระบบ(System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงานเพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู้เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน
3. โปรแกรมเมอร์(Progeammer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช่โดยเขียนตามแผนผังที่นักวิเคราะห์ได้เขียนไว้
4. ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่องและวิธีการใช้งานโปรแกรมเพื่อให้โปรแกรมที่มีอยู่สามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ
.................................................................................................................................................



ซอฟแวร์ (software)

   ซอฟแวรื คือ การลำดับขั้นตอนของคำสั่งที่จะทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอร์ว่าให้ทำอะไร เป็นชุดของโปรแกรมนำมารวมกันให้สามารถทำงานได้อย่างครบถ้วนสมบรูณ์ตามที่ต้องการ เรามองหรือสัมผัสไม่ได้แต่เราสามารสร้าง จัดเก็บ และนำมาใช้หรือเผยแพร่ได้ด้วยสื่อหลายชนิด เช่น แผ่นบันทึก แผ่นซีดิ แฟล็ซไดร์ฟ ฮาร์ดดิส เป็นต้น

      หน้าที่ของซอฟแวร์

  ซอฟแวร์ทำหน้าเป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟแวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย ซอฟแวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถออกแบบได้หลายประเภท

   ประเภทของซฮฟแวร์

ซอฟแวร์แบ่งออกเป็น3 ประเภทใหญ่ๆ
-ซอฟแวรระบบ (System softwa)
-ซอฟแวร์ประยุกต์(Application)
-ซอฟแวร์ใช้งานเฉพาะ

1.ซอฟแวร์ระบบ

เป็นโปรแกรมที่บริษัทผุ้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบ หน้าที่การทำงานหน้าของรซอฟแวรืระบบ คือ ดำเนินงานพื้นฐานต่างๆของระบบคอมพวเตอร์  เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขรแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอรืเข้าใจ  นำข้อมูลไปแสดงบนหน้าจอภาพหรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์  จัดการข้อมูลในระบบ แฟ้มข้อมูลบนหน่วยความจำสำรอง
     System softwaer หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดี DOS ,window, Unisx , linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง  เช่น ภาษาBasic Fortran Pascal, Cobbol ,C  เป็นต้น
   นอกจากนี้ฌปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบ เช้น norton's Utilities ก้นับเป้นดปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกัน
 

  หน้าที่ของซอฟแวร์ระบบ

1.  ใช้ในการจัดการหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก  เช่น รับรู้การกดแป้นต่างๆบนแผงแป้นอักขระ ส่งรหัสตัวอักษรออกทางจอภาพ หรือเครื่องพิมพื  ติดต่อกับอุปกรณ์รับเข้าและส่งออกอื่นๆ เช่น เม้าส์  ลำโพง เป็นต้น
2.   ใช้ในการจัดกานรหน่วยความจำ  เพื่อนำข้อมูลจากแผ่นบันทึกมาบรรจุในหน่วยความจำหลักหรือในทำนองเดียวกลับกันคือ นำข้อมูลจากหน่วยความจำหลักมาเก็บไว้ในแผ่นบันทึก
3.ใช้ในเป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อนให้สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น เช่น การของดูรายการในสารระบบ(Directory ) ในแผ่นบันทึก การทำสำเนาแฟ้มข้อมูล
       ซอฟแวร์ระบบพื้นฐาน ที่เห็นกันทั่วไป แบ่งออกเดป้น ระบบปฏิบัติการและตัวแปลภาษา

ประเภทของซอฟแวร์ระบบ

แบ่งออกเป็น 2ประเภท คือ
1. รบบปฏิบัติการ(Operating Systen : OS)
2. ตัวแปลภาษา

1. รบบปฏิบัติการ(Operating Systen : OS) เป็นซอฟแวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะมีซอฟแวร์ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดี เช่น ดอส  วินโดว์ ยูนิกซ์ รีนุกซ์ และ แมคอินทอซ เป็นต้น
     1.1.ดอส (Disk Operating  System:DOS) เป็นซอฟแวร์จัดระบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้สำหรับเป็นตัวอักษร ดอสป็นซอฟแวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในอดีตปัจจุบันในระบบปฏิบัติการ ดอส มีการใช้งานน้อยมาก
     1.2 วินโดวส์ (windows)  เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อการดอส โดยให้ผุ้ใช้สามารถสั่งงานได้จากเม้าส์มากขึ้นแทนการใช้แผงแป้นอักขระ เพี่ยงอย่างเดียว  นอกจากนี้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ยังสามารถทำงานหลายงายพร้อมกันได้  โดยงานแต่ละงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างบนจอภาพ การใช้งานเน้นรูปแบบกราฟฟิก ผุ้ใช้งานสามารภใช้เม้าส์ เลื่อนตัวชี้เพื่อเลือกตำแหน่งที่ปรากฏบนจอภาพทำให้ใช้
งานคอมพิวเตอร์ได้ง่าย วินโดวส์ได้รับความนิยมอย่างในปัจจุบัน
   1.3 ยูนิกซ์(Unix)เป็นระบบปฏิบุติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอรื  ยูนิกซ์ป็นรับบปฏิบัติการที่เทคโนดลยีแบบเปิด(open System) ซึ่งเป้นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้องผูดกติดกับระบบใดระบบหนึ่งหรือใช้อุปกรณ์ที่มียี่ห้อเดียวกัน ยูนิกซืยังถูกออกแบบเพื่อตองสนองการใช้งานในลักษณะที่มีผู้ใช้ได้หลานคนในเวลาเดียวกันที่เยกว่า ระบบายผุ้ใช้ (Multiusers) และสามารถทำงานได้หลายๆงานในเวลาเดียวกันในลักษณะที่เรีบยกว่า ระบบหลายภาระกิจ ZMultasking)  ระบบปฏิบัติการ ยูนิกซ์ จึงนิยมใช้กับเครื่องที่เชื่อมโยงเป้นเครือข่ายเพื่อใช้งานร่วมกันหลายๆเครื่องพร้อมกัน
   1.4 ลีนุกซ์ (Linux) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาจากระบบยูนิกซ์ เป็นระบบซึ่งมีการแจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนามาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติของระบบปฏิบัติการ ลีนุกซ์เป็นที่นิยมกันมากขึ้นในปัจจุบันเนื่องจากที่โปรแกรมประยุกต์ต่างๆที่ทำงานบนระบบลีนุกซ์จำนวนมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งโปรแกรมในกลุ่มของ กูส์นิว(GNU) และสิ่งที่สำคัญที่สุดก็ คือ ระบบลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการประเภทแจกฟรี(Free ware) ผู้ใช้สามารถใช้งานโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
     ลีนุกซ์สามารถทำงานได้บน ซีพียู หลายตระกูล เช้น อินทอล (PC Intel0 ดิจิตตอล (Diggital Alpha Computer0 และซันสปาร์ค (Sunsoarc) ถึงแม้ว่าในขณะนี้ ลีนุกศืยังไม่สามารถแทนที่ระบบวินโวส์บน พีซี ได้ทั้งหมดก็ตาม แต่ผู้ใช้จำนวนมากได้หันมาใช้และช่วยพัฒนาโปรแกรมประยุกตืบนลีนุกศ์กันมากขึ้น
    1.5 แมคอินทอซ (Macintosh) เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ แมคอินทอซส่วนมากนำไปใช้งานด้านกราฟฟิก ออกแบบ และจัดแต่งเอกสารนิยมใช้ในสำนักพิมพ์ต่างๆ

 นอกจากระบบปฏิบัติการที่กล่าวมาแล้วยังมีระบบปฏิบัติการอีกมาก เช่น ระบปฏิบัติการที่ใช้ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานร่วมกันเป็นระบบ เช่น ระบบปฏิบัติการ เน็ตแวร์  นอกจากนี้ยังมีระบบปฏิบัติการที่ใช้งานเฉพาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นมาเพื่องานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร๋ในสถาบันการศึกษา

ชนิดของระบบปฏิบัติการจำแนกตามการใช้งานแบ่งออกเป้น 3 ชนิด คิอ
1.ประเภทใช้งานเดี่ยว (Single-tasking) ระบบปกิบัติการประเภทนี้จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่ง งานเท่านั้น ใช้ในเครื่องขนาดเล็ก อย่างไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น ดอส เป็นต้น
2.ประเภทใช้หลายงาน (Multi-tasking) สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงานในขณะเดียวกัน  ผู้ใช้สามารถทำงานซอฟแวร์ประยุกต์ได้หลายชนิดในเวลาเดียวกัน เช่น วินโดวส์ 98 ขึ้นไปและยูนิกซ์ เป็นต้น
3.ประเภทใช้งานหลายคน(Multt-usre) ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่ประมวลผลทำให้ในขณะใดขณะหนึ่งมีผู้ใช้คอวพิวเตอร์พร้อมกันหลายคน แต่ละคนจะมีสถานีงานของตนเองเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์จึงต้องใช้ระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูงเพื่อให้ผู้ใช้ทุกคนมารถทำงานเสร็จในเวลา เช่น วินโดวส์ NT และยูนิกซ์ เป็นต้น
...............................................................................................................................................................
2.ตัวแปลภาษา           การพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาษษระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ้งสร้างขึ้นให้ผู้เขียนโปรแกรมเชียนชุดคำสั่งได้ง่ายเข้าใจได้ และเพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ในภายหลังได้
           ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นทุกภาษาต้องมีตัวแปลภาษา ซึ้งภาษาระดับสูงได้แก่  ภาษาBasic,Fortran,Pascal,Cobol,C และภาษาโลโก เป็นต้น
          นอกจากนี้ ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใชช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมาก ได้แก่ Fortran,Cobol และภาษาอาร์พีจี

ซอฟต์แวร์ประยุกต์(Application Softwere)ซอฟต์แวร์ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ทำงานเฉพาะด้าน เช่น การจัดการรพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน การจัดทำบัญชี การตกแต่งภาพ หรือการออกแบบเว็บไซต์ เป็นต้น

ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์ แบ่งไปน 2ประเภท คือ1. ซอฟแวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ(proprrietary Software)
2.ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป (Packaged Software)
มีทั้งโปรแกรมเฉพาะ(Customized  Packaged)และโปรแกรมมาตรฐาน(Standard Packaged)

กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย

       ซอฟแวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยจัดการด้านงานกราฟิกและมัลติมีเดีย เพื่อให้งานง่ายขึ้น เช่น ใช้ตกแต่ง วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อภาพเคลื่อนไหว และการสร้างและออกแบบเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่น
    โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ Microsoft Visio Professional
    โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ CorelDRAW, Adobe Photoshop
    โปรแกรมตัดต่อวิดิโอและเสียง อาทิ Adobe Premiere, Pinnacle Studio DV              
    โปรแกรมสร้างสื่อมัลติมีเดีย อาทิ Adobe Authorware, Toolbook Instructor, Adobe Director
   โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adobe Flash, Adobe Dreamweaver
กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
            โปรแกรมส่งข้อความด่วน (Instant Messaging) อาทิ MSN Messenger/ Windows Messenger, ICQ
            โปรแกรมสนทนาบนอินเทอร์เน็ต อาทิ PIRCH, MIRCH
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
            การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก
เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษา คอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษร เป็นประโยคข้อความ ภาษาในลักษณะดังกล่าวนี้เรียกว่าภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมายบางภาษามีความเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการ- คำนวณทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการ
จัดการข้อมูล
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์  เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงาน มนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบ การที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้ว เรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และปฏิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้เราเรียกสื่อกลางนี้ว่า ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุคประกอบด้วย
ภาษาเครื่อง (Machine Languages)
      เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้า ใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์
ใช้ตัวเลข 0 และ 1 นี้เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่งและใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นที่เป็นตัวอักษร
ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Languages)
      เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลีช่วยลดความยุ่งยากลงในการเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพิวเตอร์ 
      แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสเซมบลีก็ยังมีความใกล้เคียงภาษาเครื่องอยู่มาก และจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่าแอสเซมเบลอร์(Assembler) เพื่อแปลชุดภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง

ภาษาระดับสูง (High-Level Languages)
            เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า Statements ที่มีลักษณะเป็น
ประโยคภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้ที่เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้และเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงภาษามนุษย์ ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องนั้นมีอยู่ 2 ชนิด ด้วยกัน คือ คอมไพเลอร์ (Compiler) และ อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter)
คอมไพเลอร์ จะทำการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อน แล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น
อินเทอร์พรีเตอร์ จะทำการแปลทีละคำสั่ง แล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำการแปลคำสั่งลำดับต่อไป ข้อแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์กับอินเทอร์พรี เตอร์จึงอยู่ที่การแปลทั้งโปรแกรมหรือแปลทีละคำสั่ง
.........................................................................................................


ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตการทำงานของระบบ Network และ Internet
โครงสร้างของเครือข่ายของคอมพิวเตอร์
1. เครือข่ายเฉพาะที่ (Local  Area Network : LAN)

    เป็นเครือข่ายที่มักพบเห็นกันในองค์โดยส่วนใหญ่ลักษณะของการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นวง LAN จะอยู่ในพื้นที่ใกล้ๆกัน เช่น อยู่ภายในอาคารหรือ หน่วยงานเดียวกัน

2. เครือข่ายเมือง (Metropolitan Local  Area Network :MAN )   เป็นกลุ่มของเครือข่าย LAN ที่นำมาเชื่อมต่อกันเป็นวงที่ใหญ่ขึ้นภายในบริเวณพื้อนที่ใกล้เคียง เช่น ในเมืองเดียวกัน  เป็นต้น

3. เครือข่ายบิเวณกว้าง (WideLocal  Area Network :WAN )         เป็นเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้นไปอีกระดับ โดยเป็นการรวมเครือข่ายที่ MAN และ LAN มาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายเดียว ดังนั้นเครือข่ายนี้จึงครอบคลุมพื้นที่กว้างโดยมาการครอบคลุมไปทั่วประเทศหรือทั่วโลก เช่น Internet ซึ่งถือเป็นเครือข่ายสาธารณะที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ
  รูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย( Network  Topology)          การจักระบบทำงานของเครือข่ายมีรูปแบบโครงวร้างของเครือข่ายอันเป็นการจัดวางคอมพิวเตอร์ และการเดินสายสัณญาณคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายรวมถึงหลักการไหลเวียนข้อมูลในเครือข่ายด้วย  โดยแบ่งโครงสร้างเครือข่ายหลักได้ 4 แบบ คือ
          - เครือข่ายแบบดาว         

          -เครือข่ายแบบวงแหวน         
          -เครือข่ายแบบบัส       
          - เครือข่ายแบบต้นไม้

1.เครือข่ายแบบดาว เป็นแบบการต่อสายเชื่อมโยงโดยการนำสถานีต่างๆมาต่อร่วมกันกับสลับสายกลาง  การติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีจะกระทำได้ด้วยการติดต่อผ่านทางวงจรของสลับสายกลาง  การทำงานของหน่วยสลับสายกลางจึงคล้ายกับศูนญ์ของการต่อวงจรเชื่อมโยงระหว่างสถานีต่างๆที่ต้องการติดต่อกัน
  ลักษณะการทำงาน         เป็นการเชื่อมโยงการติดต่อสื่อสารที่มีลักษณะคล้ายรูปดาวหลายแฉก  โดยมีสถานีกลาง หรือ ฮับ เป็นจุดผ่านการติดต่อกันระหว่าบทุกโหนดในเครือข่ายเป็นสถานีการควบคุมเส้นทางการสื่อสารทั้งหมด นอกจากนี้สถานีกลางยังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางคอยจัดส่งข้อมูลให้กับโหนดปลายทางอีกด้วย  การสื่อสารภายในเครือข่ายแบบดาวจะเป็นแบบสองทิศทางโดยจะอนุญาติให้มีเพียงโหนดเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลเข้าสู่เครือข่ายได้  จึงไม่มีโอกาสที่หลายๆโหลดจะส่งข้อมุลเข้าสู่เครือข่ายในเวลาเดียวกันเพียงป้องกันการชนกันของสัณญาณข้อมูลเครือข่ายแบบดาวเป็นรูปแบบหนึ่งที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน
2.แบบวงแหวน เป็นแบบที่สถานีเครือข่ายทุกสถานีจะต้องเชื่อมต่อกันกับเครื่องขยายสัญญาณของตัวเองโดยจะมีการเชื่อมโยงสัญญาณของทุกสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวน  เครื่องขยายสัญญาณเหล่านี้จะมีหน้าที่ในการรับข้อมูลจากเครื่องวคอมพิวเตอร์ของตัวเองหลังจากเครื่องขยายสัญญาณตัวก่อนหน้าและส่งข้อมุลตอ่ไปยังเครื่องขยายสัญญาณตัวถัดไปเรื่อยๆเป็นวงหากข้อมูลที่ส่งเป็นสถานีใดเครื่องขยายสัญญาณของสถานีนั้นก็รับและส่งให้กับสถานีนั้นเครื่งองขยายสัญญาณจึงต้องมีการตรวจข้อมุลที่ได้รับว่าเป็นเจ้าของตนเองหรือไม่ด้วย  ถ้าใช่ก็รับไว้ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อไป
  ลักษณะกานทำงาน      เป็นการเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆเข้ากันเป็นวงกลมข้อมูลข่าวสารจะส่งจากหน่วยหนึ่งไปยังอีกหน่วยหนึ่ง  ควรอยู่ในเครือข่ายไปในทิศทางเดียวเหมือนวงแหวน(ในระบบเครือข่ายรูปวงแหวน บางระบบสามารถส่งข่อมุลได้สองทิศทาง)ในแต่ละโหนดหรือสถานีจะมีรีพีตเตอร์ประจำโหนดหนึ่งตัวซึ่งจะทำหน้าที่เพิ่มเติมข่าวสารที่จำเป็นต่อการสื่อสารในส่วนหัวของ เพ็กเกจข้อมูลสำหรับการส่งข้อมูลออกจากโหนดและมีหน้าที่รับเพ็กเกจข้อมูลที่ไหลผ่านมาจากสายสื่อสารเพื่อตรวจสอบว่าเป็นข้อมูลที่ส่งมาให้โหนดของตนหรือไม่ถ้าใช่ก็คัดลอกข้อมูลทั้งโหมดนั้นส่งต่อไปให้กับโหนดข้องตนเต่ถ้าไม่ใช่ก็ปล่อยข้อมูลนั้นไปยังรีพีตเตอร์ของโหนดต่อไป
3.เครือข่ายแบบบัส (Bus Network) เป้นเครือข่ายที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆด้วยสายเคเบิ้ลยาวต่อเนื่องไปเรื่อยๆโดยจะมีอุปกรณ์ที่เป็นตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เข้ากับสายเคเลิ้ลในการส่งข้อมูลจะมีคอมพิวเตอรืเพียงตีวเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลได้ช่วงเวลาหนึ่งๆการจัดส่งข้อมูลวินี้จะต้องกำหนดวิธีการที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อมกันเพราะจะทำให้ข้อมูลชนกัน วิธีการที่ใช้อาจแบ่งเวลาหรือให้แต่ละสถานีใช้ความถี่สัญญาณที่แตกต่างกันในการติดตั้งเครือข่ายแบบบัสนี้คอมพิวเตอรืและอุปกรณ์แต่ละชนิดถูกเชื่อมต่อด้วยสายเคเบอิลเพี่ยงเสินเดียวซึ่งจะใช้ในเคริอข่ายขนาดเล็กในองค์ที่มีคอมพิวเอตร์ใช้ไม่มากนัก
   ลักษณะการทำงาน        อุปกรณ์ทุกชิ้นหรือโหนดทุกโหนดในเครือข่ายจะต้องเชื่อมโยงเข้าสาวยสื่อสารหลักที่เรียกว่า บีส(BUS) เมื่อโหนดหนึ่งต้องการจะส่งข้อมูลไปยังอักอีกโหนดหน่งภายในเครื่อข่ายจะต้องตรวจสอบให้แน่ใจก่อนว่าบัสว่างหรือไม่ถ้าหากไม่ว่างก็ไม่สามารถจะส่งข้อมูลออกไปได้ทั้งนี้เพราะสายสื่อารหลักมีเพยงสายเดยวในกรณีที่มีข้อมูลวิ่งมาในบัสข้อมูลนี้จะวิ่งผ่านโหนดต่างๆไปเรื่อยๆในขณะที่แต่ละโหนดจะคอยจตรวจสอบข้อมูลที่ผ่านมาว่าเป้นของตนเองหรือไม่หากไม่ใช่ก็จะปล่อยให้ข้อมูลวิ่งผ่านไปแต่หากเลขที่อยู่ปลายทางซึ่งกำกับมาจากข้อมูลเลขที่อยู่ของของตนโหนดนั้นก็จะรับข้อมูลเข้าไป


 

การประยุกต์ใช้งานของระบบเครือข่ายคอทพิวเตอร์
     ระบบเครือข่ายทำให้เกิดการสื่อสารและการแบ่งปันการใช้ทรัพยากรระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะหมายความรวมถึงการสื่อสารและแบ่งปันการใช้ข้อมุลระหว่างบุคคลด้วย ซึ่งทั้งหมดนี้คืองานของระบบเครือข่าย
รูปแบบการใช้งานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งได้ 3 ประเภท
1.ระบบเครือข่ายแบบศูนย์กลาง
2.ระบบเครือข่ายแบบยPeer To Peer
3.ระบบเครือข่ายแบบ Clien / Server


1.ระบบเครือข่ายแบบศูนย์กลาง
 เป็นระบบที่มีเครื่องหลักเพียงเครื่องเดียวที่ใช้ในการประมวลผลตั้งอยู่ที่ศูนย์กลางและจะมีการเชื่อมต่อไปยังเครื่องเทอร์มินอลที่อยู่รอบๆใช้การเดินสายเคเบิลเชื่อต่มอกันโดยตรง เพื่อให้เครื่องเทอร์มินอลสามารถเข้าใช้งานโดยส่งคำสั่งต่างๆมาประมวลผลหรือเครื่องกลางซึ่งมักเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรมประสิทธิภาพสูง
2.ระบบเครือข่ายแบบ Peer To Peer
แต่ละสถานีงานบนระบบเครือข่าย Peer To Peer จะมีความเท่าเทียมกันสามารถที่จะแบ่งปันทรัพยากรให้แก่กันและกันได้ เช่น การใช้เครื่องพิมพ์หรือแฟ้มข้อมูลร่วมกันในเครือข่าย เครื่องอต่ละสถานีมีขีดความสามารถในการทำงานได้ด้วยตัวเอง Stand Alone
3บรรทัด
3.ระบบเครือข่ายแบบ
ระบบ Client / Server สามารถสนับสุนให้มีเครื่องลูกข่ายได้เป็นจำนวนมาก และสามารถเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้หลายสถานี ทำงานโดยมีเครื่อง Server ให้บริการเป็นศูนย์กลางอย่างน้อยหนึ่งเครื่องและมีการบริหารจัดการทรัพยากรต่างๆจากส่วนกลาง ซึ่งคล้ายกับระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์หกลาง แต่สิ่งที่แตกต่างกันก็คือเครื่องที่ทำหน้าที่ให้บริการในระบบ Clien Sราคาไม่แพงมากซึ่งอาจใช่เพียงเครื่องไมโครคอมพิวงเตอร์สมรรถนะสูงในการควบคุมการให้บริการทรัพยากรต่างๆ
    
 
ระบบเครือข่ายแบบ clien / server  เป้นระบบที่มีความยืดหยุ่นสูง สนับสนุนการทำงานแบบ Multiprocessor สามารภเพิ่มขยายขนาดของจำนวนผู้ใช้ได้ตามต้องการ นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มจำนวนเครื่อง server สำหรับให้บริการต่างๆเพื่อช่วยกระจายภาระของระบบได้ส่วนข้อเสียของระบบนี้ก็คือมีความยุ่งยากในการติดตั้งมากกว่าระบบ peer to peer รวมทั้งต้องการบุคลากรที่มีเชี่ยวชาญอีกด้วย